
ขวดวิทยาศาสตร์ทรงชมพู่
📣 มาแล้ววววว จ้า ตามคำเรียกร้องง ขวดรูปชมพู่-Erlenmeyer Flask 📣
😀😀😀😀 สั่งซื้อได้แลววันนี้ 😀😀😀😀
ขวดรูปชมพู่ (อังกฤษ : Erlenmeyer flask หรือ ขวดเออเลนเมเยอร์ เป็นขวดทดลองในห้องปฏิบัติการที่มีก้นแบน ตัวทรงกรวย และคอทรงกระบอก ถูกตั้งชื่อตาม เอมิล เออเลนเมเยอร์ (Emil Erlenmeyer)
ขวดรูปชมพู่ : มีฐานกว้าง ด้านข้างแคบลงไปยังปลายที่สั้นและตั้งตรง อาจมีขีดบอกปริมาตร และมักมีจุดที่เป็นกระจกด้านหรือมีการเลือบให้สามารถทำเครื่องหมายได้ด้วยดินสอ แตกต่างกับบีกเกอร์ตรงที่มีทรงกรวยและปากแคบ อาจทำจากพลาสติกหรือแก้วแล้วแต่จุดประสงค์ และมีหลายขนาด
ปากของขวดรูปชมพู่ : อาจมีส่วนยื่นออกมาเพื่อให้สามารถปิดด้วยจุกหรือที่คลุม ตรงคออาจทำด้วยแก้วแบบด้าน สำหรับจุกปิดแบบเฉพาะ หรืออาจมีจุดต่อไว้สำหรับเชื่อมกับอุปกรณ์พิเศษ ขวดบุชเนอร์ (Büchner flask) เป็นขวดที่ดัดแปลงเพื่อการกรองใต้ภาวะสุญญากาศ
คำแนะนำการใช้
การใช้ในเคมี
ด้านข้างที่เรียวลงและคอที่แคบ : ทำให้สามารถทำการผสมสารโดยการเขย่าเป็นวงกลม โดยไม่ต้องกลัวกระเด็น ทำให้เหมาะกับการไทเทรต โดยวางไว้ใต้บิวเรตต์ และใส่ตัวทำละลายกับตัวบ่งชี้ลงไปในขวดรูปชมพู่ รูปลักษณ์เหล่านี้ยังทำให้เหมาะสำหรับการต้มของเหลว ไอน้ำร้อนรวมตัวกันในส่วนบนของขวดรูปชมพู่ ทำให้ลดการสูญเสียของตัวทำละลาย นอกจากนี้ความแคบของคอทำให้สามารถใช้ร่วมกับกรวยกรอง
สองคุณสมบัติทำให้ขวดรูปชมพู่เหมาะกับการเกิดผลึกใหม่ (recrystallization) เริ่มจากการให้ความร้อนตัวอย่างที่ต้องการเพิ่มความบริสุทธิ์จนเดือด จากนั้นจึงเติมตัวทำละลายจนละลายอย่างสมบูรณ์ ขวดรับถูกเติมด้วยตัวทำละลายปริมาณเล็กน้อย และให้ความร้อนจนเดือด ขณะกำลังร้อนตัวทำละลายถูกกรองผ่านกระดาษกรองที่ถูกพับไปยังขวดรับ ไอน้ำร้อนจากตัวทำละลายที่กำลังเดือดทำให้กรวยกรองยังคงอุ่น และป้องกันการตกผลึกก่อนที่จะผ่านลงไป
*** ขวดรูปชมพู่ไม่เหมาะกับการวัดปริมาตรแบบแม่นยำ เช่นเดียวกับบีกเกอร์ ขีดบนขวดมีความแม่นยำในระยะ 5%
การใช้ในชีววิทยา
ขวดรูปชมพู่ยังถูกใช้ใน จุลชีววิทยา สำหรับการเพาะเลี้ยงจุลชีพ ขวดรูปชมพู่ที่ใช้เพื่อเพาะเลี้ยงเซลล์ต้องผ่านการฆ่าเชื้อ และอาจมีจุกปิดเพื่อให้แก๊สสามารถแลกเปลี่ยนได้ระหว่างการฟักตัวและการเขย่า ปกติแล้วจะใช้ของเหลวปริมาณไม่มาก และมักไม่เกินหนึ่งในห้าของความจุขวด เพื่อให้แก๊สแลกเปลี่ยนได้อย่างสะดวก และส่งเสริมการผสมอย่างทั่วถึงเมื่อขวดถูกเขย่า อัตราการแลกเปลี่ยนแก๊สในขวดรูปชมพู่ขึ้นอยู่กับความเร็วในการเขย่า, ปริมาณของเหลว และการออกแบบของขวด โดยความเร็วในการเขย่าเป็นปัจจัยที่ส่งผลสูงสุดต่ออัตราการแลกเปลี่ยนออกซิเจน
*** สั่งซื้อจำนวนมากสอบถามสินค้าก่อนนะคะ ***
*** ลูกค้าควรศึกษาข้อมุลก่อนสั่งซื้อสินค้าและก่อนใช้งานนะคะ ****
😀😀 สนใจสั่งซื้อสินค้า หรือ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 😀😀
📷LINE@ : @BKKCHEMI
📷Pages Facebook : Bkkchemi
📷TEL :02-034-1515
📷TEL : 02-015-6262
กดสั่งซื้อได้ที่ลิ้งค์ : https://xn--12cgi8d9atj3mva5fc.com/index.php?route=product/search&search=p11&description=true
💚 INBOX เข้ามาสอบถามที่เพจได้ 💚
💙 หรือ ลูกค้ามาซื้อสินค้าที่หน้าร้านได้ที่ 💙
73 ถนนอยู่เย็น เขตลาดพร้าว แขวงลาดพร้าว กทม 10230 💙
****************************************************
😀😀😀😀 สั่งซื้อได้แลววันนี้ 😀😀😀😀
ขวดรูปชมพู่ (อังกฤษ : Erlenmeyer flask หรือ ขวดเออเลนเมเยอร์ เป็นขวดทดลองในห้องปฏิบัติการที่มีก้นแบน ตัวทรงกรวย และคอทรงกระบอก ถูกตั้งชื่อตาม เอมิล เออเลนเมเยอร์ (Emil Erlenmeyer)
ขวดรูปชมพู่ : มีฐานกว้าง ด้านข้างแคบลงไปยังปลายที่สั้นและตั้งตรง อาจมีขีดบอกปริมาตร และมักมีจุดที่เป็นกระจกด้านหรือมีการเลือบให้สามารถทำเครื่องหมายได้ด้วยดินสอ แตกต่างกับบีกเกอร์ตรงที่มีทรงกรวยและปากแคบ อาจทำจากพลาสติกหรือแก้วแล้วแต่จุดประสงค์ และมีหลายขนาด
ปากของขวดรูปชมพู่ : อาจมีส่วนยื่นออกมาเพื่อให้สามารถปิดด้วยจุกหรือที่คลุม ตรงคออาจทำด้วยแก้วแบบด้าน สำหรับจุกปิดแบบเฉพาะ หรืออาจมีจุดต่อไว้สำหรับเชื่อมกับอุปกรณ์พิเศษ ขวดบุชเนอร์ (Büchner flask) เป็นขวดที่ดัดแปลงเพื่อการกรองใต้ภาวะสุญญากาศ
คำแนะนำการใช้
การใช้ในเคมี
ด้านข้างที่เรียวลงและคอที่แคบ : ทำให้สามารถทำการผสมสารโดยการเขย่าเป็นวงกลม โดยไม่ต้องกลัวกระเด็น ทำให้เหมาะกับการไทเทรต โดยวางไว้ใต้บิวเรตต์ และใส่ตัวทำละลายกับตัวบ่งชี้ลงไปในขวดรูปชมพู่ รูปลักษณ์เหล่านี้ยังทำให้เหมาะสำหรับการต้มของเหลว ไอน้ำร้อนรวมตัวกันในส่วนบนของขวดรูปชมพู่ ทำให้ลดการสูญเสียของตัวทำละลาย นอกจากนี้ความแคบของคอทำให้สามารถใช้ร่วมกับกรวยกรอง
สองคุณสมบัติทำให้ขวดรูปชมพู่เหมาะกับการเกิดผลึกใหม่ (recrystallization) เริ่มจากการให้ความร้อนตัวอย่างที่ต้องการเพิ่มความบริสุทธิ์จนเดือด จากนั้นจึงเติมตัวทำละลายจนละลายอย่างสมบูรณ์ ขวดรับถูกเติมด้วยตัวทำละลายปริมาณเล็กน้อย และให้ความร้อนจนเดือด ขณะกำลังร้อนตัวทำละลายถูกกรองผ่านกระดาษกรองที่ถูกพับไปยังขวดรับ ไอน้ำร้อนจากตัวทำละลายที่กำลังเดือดทำให้กรวยกรองยังคงอุ่น และป้องกันการตกผลึกก่อนที่จะผ่านลงไป
*** ขวดรูปชมพู่ไม่เหมาะกับการวัดปริมาตรแบบแม่นยำ เช่นเดียวกับบีกเกอร์ ขีดบนขวดมีความแม่นยำในระยะ 5%
การใช้ในชีววิทยา
ขวดรูปชมพู่ยังถูกใช้ใน จุลชีววิทยา สำหรับการเพาะเลี้ยงจุลชีพ ขวดรูปชมพู่ที่ใช้เพื่อเพาะเลี้ยงเซลล์ต้องผ่านการฆ่าเชื้อ และอาจมีจุกปิดเพื่อให้แก๊สสามารถแลกเปลี่ยนได้ระหว่างการฟักตัวและการเขย่า ปกติแล้วจะใช้ของเหลวปริมาณไม่มาก และมักไม่เกินหนึ่งในห้าของความจุขวด เพื่อให้แก๊สแลกเปลี่ยนได้อย่างสะดวก และส่งเสริมการผสมอย่างทั่วถึงเมื่อขวดถูกเขย่า อัตราการแลกเปลี่ยนแก๊สในขวดรูปชมพู่ขึ้นอยู่กับความเร็วในการเขย่า, ปริมาณของเหลว และการออกแบบของขวด โดยความเร็วในการเขย่าเป็นปัจจัยที่ส่งผลสูงสุดต่ออัตราการแลกเปลี่ยนออกซิเจน
*** สั่งซื้อจำนวนมากสอบถามสินค้าก่อนนะคะ ***
*** ลูกค้าควรศึกษาข้อมุลก่อนสั่งซื้อสินค้าและก่อนใช้งานนะคะ ****
😀😀 สนใจสั่งซื้อสินค้า หรือ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 😀😀
📷LINE@ : @BKKCHEMI
📷Pages Facebook : Bkkchemi
📷TEL :02-034-1515
📷TEL : 02-015-6262
กดสั่งซื้อได้ที่ลิ้งค์ : https://xn--12cgi8d9atj3mva5fc.com/index.php?route=product/search&search=p11&description=true
💚 INBOX เข้ามาสอบถามที่เพจได้ 💚
💙 หรือ ลูกค้ามาซื้อสินค้าที่หน้าร้านได้ที่ 💙
73 ถนนอยู่เย็น เขตลาดพร้าว แขวงลาดพร้าว กทม 10230 💙
****************************************************
-
ราคา : 165 - 299 บาท
เรื่องที่คุณอาจสนใจ
สถานที่/ตำแหน่งร้าน
สถานที่ : 73 ถนนอยู่เย็น เขตลาดพร้าว แขวงลาดพร้าว กทม 10230แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ :
ขวดวิทยาศาสตร์ทรงชมพู่
เรื่องที่คุณอาจสนใจ